การระบาดทั่วโลกของโควิด-19 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19; โควิด-19) มีสาเหตุมาจากไวรัสโคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยพบครั้งแรกในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ ในวันที่ 30 มกราคม 2563 และประกาศให้เป็นโรคระบาดทั่วโลกและปัจจุบันยังคงแพร่ระบาดกันอย่างต่อเนื่อง ขณะนี้ยังไม่มียาต้านไวรัสที่ได้รับการขึ้นทะเบียนให้ใช้รักษาโรคโควิด19 แต่ยังคงมีการทําวิจัยเพื่อพิจารณาว่ามียาตัวใดบ้างที่อาจปรับวัตถุประสงค์การใช้เดิมเพื่อการรักษาโรค COVID-19 ขณะที่โลกยังคงต่อสู้กับ COVID-19 และพัฒนาวิธีการรักษาและวัคซีนอย่างต่อเนื่องนั้น บริษัท ANH Scientific Marketing ยังคงมุ่งมั่นที่จะให้บริการลูกค้าทั้งในด้าน research และ bioprocess ตั้งแต่การทดสอบและการคัดกรองไปจนถึงการสร้างแบบจำลองของโรค รวมถึงการตรวจวินิจฉัยโรค การวิจัยและพัฒนาเพื่อผลิตวัคซีนทั้งแต่ในระดับห้องปฏิบัติการไปจนถึงการผลิตวัคซีน เราพร้อมด้วยอุปกรณ์และเครื่องมือที่จะสนับสนุนคุณในทุกขั้นตอนและทุกวิธี โดยวิธีการตรวจหา Covid แบ่งออกเป็น 2 วิธีดังนี้ การตรวจหาภูมิคุ้มกัน ค่า IgM และ IgG ( ELISA TEST ) การตรวจด้วยวิธี RT-PCR Solutions for
Author Archives: panitsara.s
Corning® Spin-X® UF concentrators คือ Single Use, Centrifugal Concentrators สำหรับงาน Ultrafiltration ที่มี PES Membrane ซึ่งมี Molecular Weight Cut-off (MWCO) ที่แตกต่างกัน ApplicationsCorning® Spin-X® UF ใช้สำหรับ concentration, desalting หรือ purification เพียงแค่ใส่ตัวอย่างที่เราต้องการลงใน spin-X UF จากนั้นไปปั่นเหวี่ยงในเครื่อง centrifuge เพื่อปั่นเหวี่ยง โดยใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที ก็จะได้สารที่เราต้องการ ดังนั้น Spin-X® UF ช่วยเพิ่มความเร็ว ลดกระบวนการอันยาวนานที่มีหลายขั้นตอน เมื่อเทียบกับวิธี dialysis Choosing the Right Concentrator Spin-X® UF มี 3 ขนาด คือ 500
ในการเพาะเลี้ยงเซลล์หรืองานในห้องแลปวิจัยทั่วไป มีการใช้ของเหลว (Liquid) ทุกขั้นตอน การขนถ่ายของเหลวหรือการจัดการจึงเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการทางห้องปฏิบัติการ โดยเฉพาะขั้นตอนการ ดูด – ปล่อย ของของเหลวที่ต้องคำนึงถึงปริมาตรที่เที่ยงตรง (Precision) และถูกต้อง (Accuracy) เพราะอาจเกิดความคลาดเคลื่อนของผลการทดลองได้ โดยในงานเพาะเลี้ยงเซลล์ มักจะเกิดขึ้นหลายๆขั้นตอน โดยส่วนมากเรามักจะใช้ autopipette ในปริมาตรที่น้อย แต่ถ้าเป็นปริมาตรที่มากกว่า 1 มิลลิลิตรขึ้นไป จำเป็นที่จะต้องใช้อุปกรณ์ที่สามารถดูดปริมาตรที่มากขึ้น นั่นคือ Pipette Controller โดยทาง Corning ได้จำหน่าย Pipette Controller โดยชื่อว่า Corning® Stripettor™ Ultra Pipet Controller Corning® Stripettor™ Ultra Pipet Controller โดยความพิเศษของ Stripettor™ Ultra Pipet Controller หน้าจอเป็นแบบ LCD แสดงสถานะของแบตเตอรี่และโหมด โดยสามารถปรับให้มีการปล่อยของเหลวตามแรงดึงดูดได้ (Gravity) และ Blow out
ในอดีตกาลการเพาะเลี้ยงเซลล์ (Cell Culture) เป็นวิธีการเลียนแบบเซลล์ในร่างกายของเรา ซึ่งยังคงเพาะเลี้ยงได้แบบสองมิติ (2D) คือการเลี้ยงเซลล์ลักษณะ Monolayer มีชั้นเดียว โดยทำการเพาะเลี้ยงในภาชนะ (Vessel) แต่การเพาะเลี้ยงเซลล์วิธีวิธีดังกล่าวไม่สามารถเลียนแบบสภาพแวดล้อมที่แท้จริงจริงของอวัยวะต่างๆในร่างกาย ซึ่งส่งผลเห็นได้ชัดในงานบางประเภท เช่น การทดสอบการออกฤทธิ์ หรือประสิทธิภาพ (efficacy) ความเป็นพิษ (toxicity) หรือการสร้างอวัยวะเทียม เป็นต้น ซึ่งนักวิจัยหรือนักวิทยาศาสตร์ได้พยายามคิดค้นรูปแบบในการเพาะเลี้ยงเซลล์ให้ใกล้เคียงกับสภาวะแวดล้อมภายในร่างกายให้ได้มากที่สุด นั่นก็คือการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อหรือเซลล์ในรูปแบบสามมิติ (3D culture) โดยลักษณะเป็นทรงกลมเรียกว่า Spheroid นั่นเอง นักวิทยาศาสตร์จึงนิยมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแบบสามมิติ (3D culture) เพื่อสร้างอวัยวะจำลอง ขนาดเล็กที่เรียกว่า ออร์แกนอยด์ (organoid) หรือเพิ่มประสิทธิภาพในงานด้านวิเคราะห์ต่างๆ โดยอาศัยรูปทรง 3 มิติของเซลล์มาใช้ในการวินิจฉัยผลการทดลองในฤทธิ์และประสิทธิภาพต่างๆ Spheroid จะสามารถจำลองการเจริญเติบโตตามธรรมชาติของเซลล์ได้ใกล้เคียงในร่างกายมาก และเซลล์ที่อยู่ใต้ภาวะนี้จะเติบโตเร็วกว่า 2 มิติ ประโยชน์และการประยุกต์ใช้การเพาะเลี้ยงเซลล์แบบ Spheroid สามารถลดระยะเวลาในการศึกษา สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและเวลาในกระบวนการพัฒนาการวิเคราะห์งานต่างๆ สามารถเตรียมขึ้นได้สำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการเพาะเลี้ยงเซลล์มากมายหลายชนิดสำหรับทดสอบ สามารถทดลองได้หลากหลายสปีชีส์ รวมถึงมนุษย์สามารถใช้สำหรับการทดสอบต่าง ๆ เช่น การทดสอบความเป็นพิษ (toxicity
Unique hydrogel surface that inhibits cell attachment เป็นพื้นผิวที่มีใน Corning cell culture vesselทุกชนิด ได้แก่ Flask, Plate, Dish และ Microplates Ultra-Low Attachment surface มีการปรับปรุงพื้นผิวด้วย covalently bonded hydrogel ที่มีคุณสมบัติชอบน้ำ (Hydrophilic) และมีประจุเป็นกลาง (neutrally charged) ทำให้ cell attachment, protein absorption, enzyme activation และ cellular activation น้อยลง นอกจากนี้ ULA Surface ยังมีคุณสมบัติ noncytotoxic, biologically inert และ nondegradable อีกด้วย Ultra-Low Attachment surface เหมาะอย่างยิ่งสำหรับ
เครื่องนับเซลล์อัตโนมัติ ที่มาช่วยให้คุณ ประหยัดทั้งเวลาและเพิ่มความแม่นยำให้คุณ ต่อให้คุณต้องนับเซลล์เป็นสิบล้านเซลล์ ก็ใช้เวลาเพียงไม่กี่วินาที เท่านั้น!!!! Corning Cell Counter เครื่องนับเซลล์อัตโนมัติ ที่มาพร้อมจุดเด่น • รูปทรงที่ทันสมัย ขนาดกระทัดรัด น้ำหนักเบา ไม่ถึง 1 กิโลกรัม • ใช้เวลานับเซลล์ เพียง 3 วินาที • สามารถใช้งานร่วมกับ Counting Chambers ทั่วไปได้ • สามารถนับเซลล์ที่มีขนาดตั้งแต่ 4 – 70 ไมโครเมตร • เลือกขนาดของเซลล์ที่ต้องการได้ (Gating Cell Size) • นับ Cluster cell หรือเซลล์ที่จับเป็นกลุ่มก้อนได้ • แสดงผลทั้งเซลล์ที่มีชีวิต (Live cells) เซลล์ตาย (Dead cells) • มีระบบการประมวลผลหลากหลาย ทั้งรูปภาพ และกราฟ
เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 ที่ผ่านมา Corning ได้แถลงการณ์เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ Corning® Bottle Top Dispenser เครื่องดูด-จ่าย สารละลายแบบอัตโนมัติ สามารถใช้งานได้กับขวดหลายขนาดด้วยกัน โดยสามารถดูดจ่ายสารละลายได้ทั้ง organic และ inorganic ผลิตภัณฑ์นี้ออกแบบมาพิเศษ ซึ่งมีระบบ air-purging, closed circuit system ทำให้มั่นใจได้ว่าไม่เกิดการสูญเสียของสารละลายก่อนและหลังการดูดจ่าย ตัวเครื่องที่สัมผัสกับสารละลายได้ผลิตจากวัสดุที่ทนสารเคมีและมีความแข็งแรง ได้แก่ platinum, ceramic, PTFE, หรือ borosilicate glass ผลิตภัณฑ์ได้รับมาตรฐานสากล ISO 8655 calibrated และจัดส่งพร้อม QC certificate 3 years warranty. Key Benefits & Features: Accurate Multiple formats : มี 6 format ให้เลือก โดยมีปริมาตร 0.25-2.5mL, 0.5-5mL,
สำหรับการเพาะเลี้ยงเซลล์ ต้องอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมและพื้นผิวที่เหมาะสม โดย Corning ได้ทำการปรับพื้นผิวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดเกาะของเซลล์ให้ดีขึ้น เราขอแนะนำให้คุณรู้จัก Corning CellBIND Surface ผลิตโดยใช้เทคโนโลยี Corona-gas treatment ซึ่งทำให้พื้นผิวพลาสติก จากที่ไม่มีความชอบน้ำ (Hydrophobic) ให้กลายเป็นมีความชอบน้ำมากขึ้น (Hydrophilic) โดยเพิ่ม Negative Net Charge กระบวนการใหม่นี้ช่วยเพิ่มการยึดติดของเซลล์ โดยการรวมออกซิเจนเข้ากับพื้นผิวการเพาะเลี้ยงเซลล์ให้มากขึ้น ทำให้มีน้ำมากขึ้นและเพิ่มความเสถียรของพื้นผิว ซึ่งทำให้การยึดเกาะของเซลล์นั้นมีความสม่ำเสมอ และเพิ่มการเจริญเติบโตของเซลล์ อีกทั้งยังส่งผลถึงผลผลิตของเซลล์ที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย CellBIND ยังช่วยเพิ่มการอยู่รอดของเซลล์ให้สามารถกลับมามีชีวิตและเพิ่มจำนวนดังเดิม เนื่องจาก CellBIND ช่วยเพิ่มการยึดติดและการเจริญเติบโตของเซลล์ภายใต้สภาวะที่ยากลำบาก จากการใช้เซรั่มที่ลดลงหรือไม่มีเซรั่ม Electron Spectroscopy Chemical Analysis (ESCA) แสดงให้เห็นว่าปริมาณออกซิเจนที่รวมอยู่ในพื้นผิว Corning CellBIND นั้นสูงกว่า พื้นผิวที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงแบบดั้งเดิมถึง 60% และแตกต่างจาก โพลี-ดี-ไลซีน และสารเคลือบทางชีวภาพ พื้นผิว Corning CellBIND เป็นพื้นผิวที่ไม่ใช่ทางชีวภาพซึ่งไม่จำเป็นต้องมีการจัดการหรือการเก็บรักษาเป็นพิเศษ เนื่องจากเป็นการปรับปรุงพื้นผิวของพลาสติกแทนจึงมีความสม่ำเสมอและมั่นคงกว่า และ อาจเป็นทางเลือกที่ดีกว่าสำหรับการใช้สารเคลือบทางชีวภาพ (Biocoat)
การเพาะเลี้ยงเซลล์แบบ 3 มิติ (3D cell culture) คือการสร้างสภาพแวดล้อมเทียมภายในภาชนะเลี้ยงเซลล์ (cell culture vessel) ให้คล้ายกับการเจริญเติบโตของเซลล์ในร่างกายที่เซลล์เจริญเติบโตแบบสามมิติ (3D) เพื่อเลี้ยงเซลล์ ซึ่งแตกต่างจากการเลี้ยงเซลล์ในสภาพแวดล้อม 2 มิติ (2D) ที่เลี้ยงเซลล์ใน cell culture flask, plate และ dish ที่เซลล์จะเติบโตได้ในแนวราบเท่านั้น เนื่องจากการเพาะเลี้ยงเซลล์แบบ 3D นี้เซลล์สามารถเติบโตได้ในทุกทิศทาง การเลี้ยงเซลล์แบบ 3D สามารถเลียนแบบสภาวะเนื้อเยื่อในเชิงสรีระวิทยาได้ดีกว่าการเลี้ยงเซลล์แบบ 2D ยกตัวอย่างเช่นการเลี้ยงเซลล์มะเร็งแบบ 3D สามารถทำให้ศึกษา การเปลี่ยนแปลงในการแสดงโปรตีน รูปแบบฟอสโฟรีเลชัน และการตอบสนองต่อโมเลกุลของตัวยับยั้ง ได้ดีกว่าการเลี้ยงเซลล์แบบ 2D ดังนั้นการเลี้ยงเซลล์มะเร็งแบบ 3D ทำให้การพัฒนายาหรือศึกษาการตอบสนองของยาต่อได้ดีกว่านั่นเอง วิธีการเลี้ยงเซลล์แบบ 3D แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ scaffold และ scaffold-free การเลี้ยงเซลล์แบบ scaffold คือ เป็นการเลี้ยงเซลล์ใน
Filtration (การกรอง) คือการใช้แรงในการแยกอนุภาคของแข็งออกจากของเหลวที่มีส่วนผสมของทั้งของแข็งและของเหลวไหลผ่านตัวแผ่นกรอง (Membrane) ซึ่งมีหน้าที่กักของแข็งที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดรูของตัวแผ่นกรองไว้ และปล่อยให้ส่วนที่เป็นของเหลวไหลผ่าน ซึ่งการกรองแบ่งออกได้หลายชนิดตามงานที่ทำ ส่วนประกอบของอุปกรณ์การกรอง ประกอบด้วยดังนี้ แต่การกรองสารในรูปแบบเดิมๆ ที่มีแต่เครื่องกรวยกรองอาจจะใช้เวลานานกว่าที่จะกรองสารเสร็จ ซึ่งต้องใช้เวลานานพอสมควร แต่เมื่อมีปั๊มสุญญากาศมาช่วยเพื่อให้กรองสารเร็วขึ้น ช่วยประหยัดเวลาการทำงานของผู้ใช้งาน เรียกการกรองแบบนี้ว่า Vacuum Filtration การใช้งานทั่วไปจะใช้เป็นรูปแบบแก้ว (Glass) ซึ่งเมื่อใช้งานเสร็จแล้วสามารถนำไปนึ่งฆ่าเชื้อ (Autoclavable) แต่การนึ่งฆ่าเชื้อนั้นอาจมีการปนเปื้อนภายในหม้อนึ่งฆ่าเชื้อด้วย ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่องานด้าน Cell Culture เป็นอย่างมาก ดังนั้นทาง Corning จึงได้ผลิต Disposable Filtration System เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งาน และเพื่อป้องกันการเกิดการ contaminate ด้วยการ sterile ด้วยรังสีแกมมา (Gamma Radiation) เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีการปนเปื้อนจาก Pyrogen อย่างแน่นอน ขั้นตอนการเลือกใช้อุปกรณ์การกรองต้องเลือกให้เหมาะสมกับงาน (Application) ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยดังนี้ สารที่ต้องการกรอง Pore Size ของ Membrane Membrane ปริมาตรที่ต้องการกรอง การเลือกชนิด Membrane เพื่อให้เหมาะสมกับการทำงานนั้นเป็นสิ่งสำคัญ โดย Corning มี